ตัวชี้วัด

ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้
รหัส ว ๓๑๑๐๑ วิชา ฟิสิกส์พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น
มัธยมศึกษาปีที่ ๔ ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หน่วยกิต

ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
ว ๔.๑ ม.-/๑ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ในสนามโน้มถ่วงจะมีแรงกระทาต่อวัตถุทาให้วัตถุมีน้าหนัก เมื่อปล่อยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี สนามโน้มถ่วงทาให้วัตถุต่าง ๆ ไม่หลุดจากโลก เช่น การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช้แรงโน้มถ่วงไปใช้ประโยชน์เพื่อหาแนวดิ่งของช่างก่อสร้าง
ว ๔.๑ ม.-/๑ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟ้า และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าอยู่ในสนามไฟฟ้าจะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทาให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไปสามารถนาสมบัตินี้ไปประยุกต์สร้างเครื่องมือบางชนิด เช่น เครื่องกาจัดฝุ่นออสซิลโลสโคป
ว ๔.๑ ม.-/๒ ทดลองและอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างแรงกับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแม่เหล็ก และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าเคลื่อนที่ในสนามแม่เหล็ก จะมีแรงกระทาต่ออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทาให้สภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนาสมบัติไปประยุกต์สร้างหลอดภาพโทรทัศน์
ว ๔.๑ ม.-/๓ วิเคราะห์และอธิบายแรงนิวเคลียร์และแรงไฟฟ้าระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส
เมื่อภาคในนิวเคลียส เรียกว่า นิวคลีออน                นิวคลีออนประกอบด้วยโปรตอนและนิวตรอน  นิวคลีออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันด้วยแรงนิวเคลียร์ซึ่งมีค่ามากกว่าแรงผลักทางไฟฟ้าระหว่างนิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยู่รวมกันในนิวเคลียสได้
ว ๔.๒ ม.-/๑ อธิบายและทดลองความสัมพันธ์ระหว่างการกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร่งของการเคลื่อนที่ในแนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงเป็นการเคลื่อนที่ในแนวใดแนวหนึ่ง เช่น แนวราบหรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด ความเร็ว ความเร่ง อยู่ในแนวเส้นตรงเดียวกัน โดยความเร่งของวัตถุหาได้จากความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหน่วยเวลา




ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
ว ๔.๒ ม.-/๒ สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์แบบวงกลม และ แบบฮาร์มอ-นิกอย่างงง่าย
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์เป็นการเคลื่อนที่วีถีโค้งที่มีความเร็วในแนวราบคงตัวและความเร่งในแนวดิ่งคงตัว การเคลื่อนที่แบบวงกลมเป็นการเคลื่อนที่ที่มีความเร็วในแนวเส้นสัมผัสวงกลมและมีแรงในทิศทางเข้าสู่ศูนย์กลาง
การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายเป็นการเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้าทางเดิม เช่น การแกว่งของลูกตุ้มอย่างง่าย โดยที่มุมสูงสุดที่เบนจากแนวดิ่ง มีค่าคงตัวตลอด
ว ๔.๒ ม.-/๓อภิปรายผลการสืบค้นและประโยชน์ เกี่ยวกับการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล์ แบบวงกลม และแบบฮาร์มอนิกอย่างง่าย
การเคลื่อนที่แบบโพรเนจกไทล์สามารถนาไปใช้ ประโยชน์ เช่น การเล่นเทนนิส บาสเกตบอล
การเคลื่อนที่แบบวงกลมสามารถนาไปใช้ประโยชน์ เช่น การวิ่งทางโค้งของรถยนต์ให้ปลอดภัย การเคลื่อนที่แบบฮาร์มอนิกอย่างง่ายสามารถนาไปใช้ ประโยชน์ในการสร้างนาฬิกาแบบลูกตุ้ม
ว ๕.๑ ม.-/๑ ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่างอัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น
คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหกเห การแทรก สอด และการเลี้ยวเบน
อัตราเร็วความถี่และความยาวคลื่นมีความสัมพันธ์ ดังนี้
อัตราเร็ว = ความถี่ ความยาวคลื่น

ว ๕.๑ ม.-/๒ อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตส์ของ เสียง ความเข้มเสียงระดับความเข้มเสียง การได้ยิน เสียง คุณภาพเสียง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง
บีตส์ของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดสอง แหล่งที่มีความถี่ต่างกันเล็กน้อยมารวมกัน ทาให้ได้ยิน เสียงดัง ค่อยเป็นจังหวะ
ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่ง หน่วยเวลา
ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดัง ค่อยของเสียงที่ ได้ยิน
เครื่องดนตรีแต่ละชนิดที่ใช้ตัวโน้ตเดียวกัน จะให้ รูปคลื่นที่แตกต่างกันเรียกว่ามีคุณภาพเสียงต่างกัน


ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
ว ๕.๑ ม.-/๓ อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับ มลพิษทางเสียที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการ เสนอวิธีป้องกัน
มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ถ้าฟังเสียงที่ มีระดับความเข้มเสียงสูงกว่ามาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้ การป้องกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใช้เครื่องครอบหูหรือ ลดการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง เช่นเครื่องจักร
ว ๕.๑ ม.-/๔ อธิบายคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าสเปกตรัม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าและนาเสนอผลการสืบค้นข้อมูล เกี่ยวกับประโยชน์ และการป้องกันอันตรายจากคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและ สนามไฟฟ้าที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัมคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่าง ๆ มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่ง สามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่างกัน เช่น การ รับส่งวิทยุ โทรทัศน์ การป้องกันอันตรายจากคลื่น แม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตา ทางาน
ว ๕.๑ ม.-/๕ อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร์ ฟิชชัน ฟิวชัน และความสัมพันธ์ระหว่างมวลกับพลังงาน
ปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นปฏิกิริยาที่ทาให้นิวเคลียสเกิด การเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลมากแตกตัว เรียกว่า ฟิชชัน ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอมรวมนิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลน้อย เรียกว่า ฟิวชัน ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานเป็นไปตามสมการ E = mc2
ว ๕.๑ ม.-/๖ สืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับพลังงานที่ได้จากปฏิกิริยานิวเคลียร์และผลต่อสิ่งมีชีวิต และสิ่งแวดล้อม
ปฏิกิริยานิวเคลียร์ทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม


 


ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้
ว ๕.๑ ม.-/๗ อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียร์และนาไปใช้ประโยชน์
โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อนประเภทหนึ่ง ซึ่งได้พลังงานความร้อนจากพลังงานนิวเคลียร์
ว ๕.๑ ม.-/๘ อธิบายชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุกัมมันตรังสี
รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี ๓ ชนิด คือ แอลฟา บีตา และแกมมา ซึ่งมีอำนาจทะลุผ่านต่างกัน
ว ๕.๑ ม.-/๙ อธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสีและบอกวิธีการตรวจตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดล้อม การใช้ประโยชน์ ผลกระทบต่อสิ่งชีวิตและสิ่งแวดล้อม
กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลายของไอโซโทปของธาตุที่ไม่เสถียร สามารถตรวจได้โดยเครื่องวัดรังสี ในธรรมชาติ
รังสีมีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม การเกษตร การแพทย์ โบราณคดี รังสีในระดับสูงมีอันตราย
ว ๘.๑ ม.-/๑ ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์หรือความสนใจหรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้นที่สามารถทาการสำรวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่างครอบคลุมและชื่อถือได้

ว ๘.๑ ม.-/๒ สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบหรือสร้างแบบจาลองหรือสร้างแบบเพื่อนาไปสู่การสำรวจตรวจสอบ

ว ๘.๑ ม.-/๓ ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสำคัญปัจจัยที่มีผลต่อปัจจัยอื่นปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้และจานวนครั้งของการสำรวจตรวจสอบเพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่างเพียงพอ

ว ๘.๑ ม.-/๔ เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสำรวจ ตรวจสอบอย่าง ถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

ว ๘.๑ ม.-/๕ รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสำรวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบ ถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความ เป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของข้อมูล


ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้

ว ๘.๑ ม.-/๖ จัดกระทาข้อมูลโดยคำนึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้องและนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม


ว ๘.๑ ม.-/๗ วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูลและประเมินความสอดคล้องของข้อสรุปหรือสาระสำคัญเพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้


ว ๘.๑ ม.-/๘ พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการและผลการสำรวจตรวจสอบโดยใช้หลักของความคลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกตเสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสำรวจตรวจสอบ


ว ๘.๑ ม.-/๙ นาผลของการสำรวจตรวจสอบที่ได้ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้างคาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง


ว ๘.๑ ม.-/๑๐ ตระหนักถึงความสำคัญในการที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง


ว ๘.๑ ม.-/๑๑ บันทึกและอธิบายผลการสำรวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผลใช้พยานหลักฐานอ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติมเพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่างระมัดระวังอันจะนามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่


ว ๘.๑ ม.-/๑๒ จัดแสดงผลงาน เขียนรายงานและ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการและผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ



 

หน่วย
ที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา(ชั่วโมง)
น้ำหนักคะแนน
(๑๐๐)
การเคลื่อนที่
.๑ การเคลื่อนที่แนวตรง
..๑ อัตราเร็วและความเร็ว
..๒ความเร่ง
.๒ การเคลื่อนที่แบบโพรเจคไทล์
.๓ การเคลื่อนที่แบบวงกลม
.๔ การเคลื่อนที่แบบฮาร์นิคอย่างง่าย
ว ๔.๒ ม.-/-,
ว ๘.๑ม.-/-๑๒
๒๐
๑๕
สนามของแรง
.๑สนามแม่เหล็ก
..๑ ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้า
..๒ ผลของสนามแม่เหล็กต่อการเคลื่อนที่ของตัวนาที่มีกระแสไฟฟ้าไหลผ่าน
..๓ สนามแม่เหล็กโลก
.๒ สนามไฟฟ้า
.๓ สนามโน้มถ่วง
..๑ การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง
ว ๔.๑ ม.-/-
ว ๘.๑ม.-/-๑๒
๒๐
๑๕
คลื่น
.๑ คลื่นกล
.๒ องค์ประกอบของคลื่น
.๓ สมบัติของคลื่น
.๔ เสียงและการได้ยิน
..๑ เสียงเกิดได้อย่างไร
..๒ ธรรมชาติของเสียง
.๕ คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ว ๕.๑ ม.-/-
ว ๘.๑ม.-/-๑๒
๒๐
๑๕
หน่วยที่
ชื่อหน่วยการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
เวลา(ชั่วโมง)
น้าหนักคะแนน
(๑๐๐)
กัมมันตภาพรังสีและพลังงานนิวเคลียร์
.๑ กัมมันตภาพรังสี
.๒ รังสีกับมนุษย์
.๓ พลังงานนิวเคลียร์
ว ๕.๑ ม.-/-
ว ๘.๑ม.-/-๑๒
๒๐
๑๕
งานที่มอบหมาย/การนาความรู้ไปใช้
-
๑๐
คุณลักษณะอันพึงประสงค์/จิตพิสัย
-
๑๐
สอบปลายภาคเรียน
-
๒๐
รวมทั้งสิ้นตลอดภาคเรียน
๘๐
๑๐๐





คำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ สาระการเรียนรู้ พื้นฐาน
รหัส ว ๓๑๑๐๑ วิชา ฟิสิกส์พื้นฐาน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ ๔
ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๗ หน่วยกิต

ศึกษาวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว อัตราเร่งการเคลื่อนที่แนวตรง โพรเจคไทล์ การเคลื่อนที่แบบวงกลมและฮาร์โมนิคอย่างง่าย การเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโน้มถ่วง การเคลื่อนที่ของอนุภาคที่มีประจุไฟฟ้าในสนามไฟฟ้าและสนามแม่เหล็กการใช้ประโยชน์จากการเคลื่อนที่แบบต่าง ๆ แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคในนิวเคลียส คลื่นกล เสียงและสมบัติของเสียง เสียงและการได้ยิน สเปกตรัมของคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ กัมมันตรังสี ไอโซโทป และการใช้ประโยชน์ในการสร้างสรรค์รวมถึงผลต่อสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
โดยใช้กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล อภิปรายและการทดลอง เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้ใจ สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ นาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม
ตัวชี้วัด
ว ๔.๑ม.-/- , ว ๔.๒ม.-/- , ว ๕.๑ม.-/- , ว ๘.๑ ม.-/-๑๒


สาระการเรียนรู้พื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที ๔  ภาคเรียนที่ ๑ เวลาเรียน ๘๐ ชั่วโมง จานวน ๒.๐ หน่วยกิต








ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น